ศัตรูพืช NO FURTHER A MYSTERY

ศัตรูพืช No Further a Mystery

ศัตรูพืช No Further a Mystery

Blog Article

นอกจากนี้ทีมวิจัยยังได้พัฒนาชีวภัณฑ์ควบคุมโรคพืชอีกหลายชนิด ทั้งโรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรียและถ่ายทอดผ่านเมล็ดได้ เช่น โรคกล้าไหม้และผลเน่าของแตง โรคไหม้ของพืชตระกูลพริกและกะหล่ำ โรคเหี่ยวเขียวของพืชหลายตระกูล

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.

แมลงจำพวกปากกัด แมลงพวกนี้ ทำลายพืชโดยใช้ปากเคี้ยวกัดกินใบ กินดอก และส่วนต่างๆ ของพืช เช่น แมลงเต่าทอง ด้วงปีกแข็ง หนอนผีเสื้อ การกำจัดแมลงพวกนี้ ใช้ยาฉีดพ่นไว้ตามต้นตามใบของพืช เมื่อแมลงกินใบหรือส่วนต่างๆ นี้เข้าไป ก็จะทำให้แมลงตาย

ถ้ามีลักษณะตามที่ว่า ส่วนใหญ่แมลงตัวเล็กสีดำ ที่มีอยู่ในพื้นที่ก็จะเป็นเพลี้ยไฟ ซึ่งเพลี้ยไฟจะระบาดเร็วมาก จุดสังเกตอีกหนึ่งจุดคือ ยอดอ่อนของต้นไม้จะมีลักษณะม้วนหยิกงอ เพราะเพลี้ยเขาฟักไข่ ขยายพันธุ์ เพื่อแตกลูกหลาน

ดร.อลงกรณ์ ให้ข้อมูลว่า วัชพืชเป็นอีกหนึ่งปัญหาสำคัญที่พบได้ทั่วไปในแปลงเกษตร โดยที่ผ่านมาประเทศไทยนำเข้าสารเคมีกำจัดวัชพืชมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของสารเคมีเกษตรทุกชนิด ทีมวิจัยจึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวรค้นหาสารกำจัดวัชพืชจากธรรมชาติ โดยคัดแยกจุลินทรีย์จากตัวอย่างวัชพืชที่เป็นโรค นำมาเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อและสกัดสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ต่อวัชพืชมาพัฒนาสูตรชีวภัณฑ์ควบคุมวัชพืช

กำจัดด้วยชีววิธี : ใช้แมลงเบียนเช่น แตนเบียน วางไข่ในตัวหนอนกระทู้

สมัครสมาชิก ลืมรหัสผ่าน คำถามที่พบบ่อย

นอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายสำหรับการขึ้นทะเบียนและจัดซื้อสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์อีกด้วย

ศัตรูพืชเอง ยังอาจเกิดความต้านทานต่อสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ (อาการดื้อยา) ขึ้นได้ ซึ่งทำให้เกิดความต้องการสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดใหม่ หรือ อาจทำให้ต้องใช้สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์เดิมในปริมาณที่สูงขึ้น ซึ่งวิธีหลังนี้จะยิ่งผลกระทบด้านลบแก่สิ่งแวดล้อม

ต้นข้าวที่ถูกแมลงนี้ทำลายจะมีอาการ เหี่ยวแล้วแห้งเป็นสีน้ำตาลแก่

การทำลายของเพลี้ยจักจั่นสีเขียว จะใช้เป็นการระบาดหนักช่วงที่พืชเปลี่ยนจากระยะต้นกล้าสู่ระยะเจริญเติบโต โดยเพลี้ยที่เป็นตัวอ่อน  ตัวเต็มวัย เหล่านี้ จะมาดูดน้ำเลี้ยงที่ใบ ลำต้น จึงทำให้พืชถูกทำลายท่อน้ำเลี้ยง ไม่สามารถส่งอาหารด้วยวิธีการลำเลียงไปยังใบเพื่อสังเคราะห์แสงได้ ส่งผลให้พืชต่างๆหยุดการเจริญเติบโต เริ่มมีอาการใบเหลือง ร่วง ถ้าระบาดหนักก็จะทำให้พืช หรือต้นไม้ตายได้

ลงบนต้นข้าวที่ถูกแมลงนี้ทำลายเพื่อให้แมลงตาย ยา more info ที่ใช้ได้ผล เช่น มิพซิน

(ก) การปลูกพืชร่วม การปลูกพืชร่วมเป็นการปรับเปลี่ยนระบบนิเวศการเกษตร เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมของฟาร์มที่แตกต่างไป ซึ่งการปลูกพืชร่วมอาจมีเป้าหมายด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านร่วมกัน เช่น • สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการขยายพันธุ์ศัตรูธรรมชาติของศัตรูพืช • สร้างแนวพืชป้องกัน ซึ่งอาจเป็นพืชที่ขับไล่ศัตรูพืช หรือเป็นกับดักให้แมลงศัตรูพืชมาอยู่อาศัย เพื่อที่จะได้ไม่ไประบาดในแปลงพืชหลัก • สร้างสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช การปลูกพืชร่วมเพื่อกระตุ้นหรือสนับสนุนศัตรูธรรมชาตินั้น เกษตรกรจะต้องรู้จักเงื่อนไขข้อจำกัดของศัตรูธรรมชาติ และจัดปรับสภาพแวดล้อมของฟาร์มเพื่อช่วยให้ศัตรูธรรมชาติมีแหล่งอาหารหรือมีที่อยู่อาศัยและที่ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ศัตรูธรรมชาติหลายชนิดกินเกสรดอกไม้เป็นอาหาร ดังนั้น

กลุ่มพัฒนาและสร้างเสริมบุคลากรวิจัย

Report this page